วันอาทิตย์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รวมคำศัพท์ที่ต้องรู้...(ไม่รู้ ..ไม่ได้แล้ว...) 1

คำที่เขียนถูก
มักเขียนผิดเป็น
หมายเหตุ
ก็
ก้อ
กงเกวียนกำเกวียน
กงกำกงเกวียน
กง และ กำ เป็นส่วนประกอบของล้อเกวียน
กงศุล
"กงสุล" มาจากคำในภาษาฝรั่งเศสว่า "consul"
กฏ
กฎ ทุกอย่าง ใช้ ฎ ชฎา ยกเว้น ปรากฏ ใช้ ฏ ปฏัก ส่วน กรกฎ/กรกฏ สะกดได้ทั้งสองแบบ
กฐิณ
กบฎ, กบถ
- "กบฏ" ใช้ ฏ ปฏัก
- ในสมัยโบราณ เคยสะกดด้วย ฎ ชฎา (ดู 
พจนานุกรมกฎหมาย ของ ขุนสมาหารหิตะคดี)
- ถ้าออกเสียง "ขะ-บด" เขียน "ขบถ"
กบาล, กระบาล
กะบาล, -บาน
ใช้เรียกศีรษะ แต่ไม่สุภาพ
กรรมกร
กรรมกรณ์
- "กรรมกร" = คนงาน, ลูกจ้างที่ใช้แรงงาน
- "กรรมกรณ์" = อาญา, เครื่องสำหรับลงอาญา ฯลฯ มักสลับกัน
กรรมกรณ์
กรรมกร
- "กรรมกร" = คนงาน, ลูกจ้างที่ใช้แรงงาน
- "กรรมกรณ์" = อาญา, เครื่องสำหรับลงอาญา ฯลฯ มักสลับกัน
กะเพาะ, กะเพราะ, กระเพราะ
ระวังสับสนกับ กะเพรา
กิริยา
"กริยา" (กฺริ-) คือ คำชนิดหนึ่ง บอกอาการ การกระทำ เช่น เดิน วิ่ง เขียน เหล่านี้ คือ คำกริยา
กรีธา, กรีทา
กีฬาอย่างหนึ่ง มักสลับกัน
กรีธา
กรีฑา
เคลื่อน ยก เดินเป็นหมู่หรือเป็นกระบวน เช่น กรีธาทัพ มักสลับกัน
กลยุทธ, กลยุทธิ, กลยุทธิ์
กลางคัน
กลางครัน
กลิ่นอาย
กลิ่นไอ
กสิน
กเฬวราก
กเลวราก
กอปร
กอป, กอปร์
อ่านว่า "กอบ"
กลอฟ, กอลฟ์, ก็อลฟ์, ก็อล์ฟ, ก๊อลฟ์, ก๊อล์ฟ
กะทันหัน
กระทันหัน
กระเทย
กะเทาะ
กระเทาะ
กะบังลม
กระบังลม
กะปิ
กระปิ
กะพง
กระพง
กะพริบ
กระพริบ
กะพรุน
กระพรุน
กะเพา, กระเพา, กระเพรา
ระวังสับสนกับ กระเพาะ
กะล่อน
กระล่อน
กะละมัง
กาละมัง
กลาสี
กาละแม, กาลาแม, กาละแมร์
กะหรี่
กระหรี่
กะเหรี่ยง
กระเหรี่ยง
กะหล่ำ
กระหล่ำ
กระโหลก
จำไว้ว่า กะโหลก กะลา
กังวาน
กังวาล
กันทรลักษณ์, กัณ-
กันแสง
กรรแสง, กรรณแสง
ทรงกันแสง, ทรงพระกันแสง = ร้องไห้; กรรแสง แผลงมาจาก กระแสง = ส่งเสียงร้อง, ผ้าสไบ
กาลเทศะ
กาละเทศะ
กาลเวลา
กาฬเวลา
กาล หมายถึง เวลา , กาฬ แปลว่า รอยดำ หรือ แดง
กาฬสินธ์, กาล-
กำเหน็จ
กำเน็จ, กำเหน็ด
กิตติมศักดิ์
กิติมศักดิ์, เกียรติมศักดิ์
กินนรี
แต่ "กิน-นอน" เขียน 'กินนร'
กริยา
"กิริยา" คือ อาการ การกระทำ เช่น ปฏิกิริยา
กุฎีกุฏิ
กุฎ, กุฎิ
"กุฏิ" อ่านว่า "กุด" หรือ "กุด-ติ", ถ้าต้องการอ่าน "กุ-ดี" ต้องเขียน "กุฎี" (ใช้คำไหนก็ได้)
กู
กรู
คำสรรพนามบุรุษที่หนึ่ง
เกมส์
ในภาษาไทยสำหรับกรณีทั่วไปจะไม่มีการเปลี่ยนรูปแบบคำใด ๆ ทั้งสิ้น ไม่ว่าสื่อความหมายถึงเอกพจน์หรือพหูพจน์
เว้นแต่เป็นการทับศัพท์วิสามานยนาม เช่น "SEA Games" ว่า 
ซีเกมส์
เกร็ดเลือด
เกษียณ
เกษียน, เกษียร
เกษียณ = สิ้นไป เช่นเกษียณอายุ; เกษียน = เขียน; เกษียร = น้ำนม
เกษร
ส่วนในของดอกไม้
เก๊าท์
เกียรติ
เกียตร, เกียรต, เกียรต์, เกียรติ์
อ่านว่า "เกียด", ถ้าเขียน "เกียรติ์" อ่านว่า "เกียน" เช่น รามเกียรติ์
แก๊งค์, แก๊งก์
"แก๊ง" มาจากภาษาอังกฤษว่า "gang" ในภาษาไทยเป็นภาษาปาก หมายความว่า "กลุ่มคนที่ตั้งเป็นก๊กเป็นเหล่า (มักใช้ในความหมายไม่ดี) เช่น แก๊งโจร แก๊งอันธพาล"
แกร็น
แกน, แกรน
ไม่เจริญเติบโตตามปรกติ (ใช้แก่คน สัตว์ และพืช), เช่น แคระแกร็น
ขบถ
ขบฏ
ดู กบฏ
โขมย
ขวาญ
ขะมักเขม้น
ขมักเขม้น
ขัณท-, ขันท-, ขันฑ-
ขาดดุล
ขาดดุลย์
ดู "ดุล", "สมดุล"
ข้าวเหนียวมูน
ข้าวเหนียวมูล
มูน = เอากะทิเคล้ากับข้าวเหนียวเพื่อให้มัน
ขี้เกียจ
ขี้เกลียด, ขี้เกียด
คึ่น-, -ช่าย, -ไฉ่, -ไช่
เขยก
ขเยก, ขะเหยก
ไข่มุกข์, ไข่มุกด์, ไข่มุข
คณะบดี
คฑา, คธา
ฅน
ฅ ไม่เคยใช้เขียนคำว่า ฅน
ครรไล
ครรลัย
ครองแครง
คลองแคลง
ครองราชย์
ครองราช
คำว่า "ราชย์" หมายถึง ความเป็นราชา, "ครองราชย์" จึงหมายถึง ครองความเป็นราชา
ทั้งนี้ คำว่า "ครองราชสมบัติ" หมายความว่า ครองสมบัติของพระราชา ก็คือ ครองความเป็นราชา (มิใช่ "ครองราชยสมบัติ" อันแปลว่า ครองสมบัติแห่งความเป็นพระราชา)
คริสต์กาล
ใช้ตามโบราณ
คริสต์จักร
ใช้ตามโบราณ
คริสตทศวรรษ
ไม่นิยมสมาสข้ามภาษา
คริสตศตวรรษ
ไม่นิยมสมาสข้ามภาษา
คริสตศักราช
คริสตศาสนา
ไม่นิยมสมาสข้ามภาษา
คริสตศาสนิกชน
คริสตมาส
ครุท
ครุภัณฑ์
คุรุภัณฑ์
คุรุศาสตร์
คฤหาสถ์
คฤห + อาสน
คลิ้ก, คลิ๊ก
คลีนิก, คลินิค
ฆ้อน
คะ
ค๊ะ
คะนอง
คนอง
คัดสรร
คัดสรรค์
คาร์ฟ, คราฟ, คาร์พ, คราพ
ชื่อปลา ทับศัพท์มาจาก carp
คารวะ
เคารวะ
คำนวน
คำสดุดี
คำดุษฎี
คุ้กกี้, คุ๊กกี้
ออกเสียง คุก โดยไม่ต้องใส่วรรณยุกต์
คุรุศึกษา
ครุศึกษา
เค็ก, เค๊ก
เคลียด
เครื่องลาง
แค็ตตาล็อก
แคตตาล็อก, แคตาล็อก
แค็บ-, แคป-, แค็ป-
แคระแกร็น
แคะแกน, แคะแกรน, แคระแกน, แคระแกรน
ไม่เจริญเติบโตตามปรกติ (ใช้แก่คน สัตว์ และพืช)
แครง
แคลง
แครง เป็นชื่อหอยทะเลและชื่อเห็ดชนิดหนึ่ง; แคลง แปลว่า กินแหนง, สงสัย
โค่ง
โข่ง
โข่ง = เปิ่น ไม่เข้าท่า / โค่ง = โตกว่าเพื่อน
โคตร
โครต, โคต, โคด
โครงการณ์, โคลงการ
การ คือ งาน
โควต้า
ออกเสียง คว ควบกล้ำ และออกเสียง ต้า โดยไม่ต้องใส่วรรณยุกต์
คอลัมน์
คอลัมม์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

comment